ปฐมบท “วิชาหินเดินดาว” ศาสตร์พยากรณ์ 12 พลังหิน แนะนำการเรียน “วิชาหินเดินดาว” ศาสตร์พยากรณ์ 12 พลังหิน คิดค้นโดย อ.ณิชารัศมิ์ สิริแสงสว่าง
ออราเคิลพยากรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
ออราเคิลพยากรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560 ออราเคิลพยากรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560 การพยากรณ์ดวงชะตาด้วยไพ่ออราเคิล ไพ่แห่งเทพพยากรณ์โดย อ.ณิชารัศมิ์ หินเดินดาว ท่ามกลางเดือนที่ร้อนระอุแต่ก็ยังมีฝนโปรยปรายมาให้ได้เห็นกันบ้างในบางพื้นที่ มันก็พอทำให้เราได้รู้สึกชุ่มชื่นหัวใจกันได้บ้าง บางพื้นที่ถึงขนาดเป็นลูกเห็บตกกันเลยทีเดียว อย่างไรก็ขอให้ระมัดระวังสุขภาพให้ดีนะคะ ส่วนในเรื่องดวงชะตาของท่านจะเป็นเช่นไรในรอบเดือนพฤษภาคม ที่มีความเปลี่ยนแปลงมากมายนี้นี้ จะร้อนแรงเหมือนกับอากาศที่แปรปรวนหรือไม่ ติดตามอ่านกันได้ตามวันเกิดของท่านได้เลยค่ะ
ลิขสิทธิ์ “หินเดินดาว”
ลิขสิทธิ์ “หินเดินดาว” ในยุค 4.0 ที่การติดต่อสื่อสารรวดเร็วและง่ายดาย เพียงสัมผัสบนหน้าจอกระจกไม่กี่ครั้งเราก็สามารถค้นหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และความบันเทิงต่าง ๆ ได้ในพริบตารวดเร็วดั่งระบบจิตสัมผัส ซึ่งบางครั้งบางคราวข้อมูลก็แทบจะทะลักทะลวงหน้าจอของเราออกมาจนแทบจะปิดไม่ทันเลยทีเดียว
ประกาศผลรางวัล “กิจกรรมถ่ายภาพคู่กับหิน”
ประกาศผลรางวัล “กิจกรรมถ่ายภาพคู่กับหิน” จาก “กิจกรรมการถ่ยภาพคู่กับหิน” ที่จัดขึ้นโดย Fanpage “หินเดินดาว” เพจอย่างเป็ทางการขิง “วิชาหินเดินดาว” ศาสตร์พยากรณ์ 12 พลังหิน ซึ่งจัดกิจกรรมนี้ขึ้นเมื่อต้นปี 2560 ที่ผ่านมา บัดนี้เราจะได้ทราบกันแล้วว่าใครจะได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้กันบ้าง ถ้าอยากทราบว่ามีใครได้รับรางวัลใด ติดตามลุ้นกันได้ในคลิปวีดีโอนี้ได้เลยค่ะ ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลทุกท่านด้วยนะคะ ส่วนผู้ที่พลาดกิจกรรมในครั้งนี้ไปก็ไม่ต้องเสียใจค่ะ เรายังมีกิจกรรมให้ร่วมสนุกกันอีกแน่นนอน ติดตามกันได้ที่ Facebook: หินเดินดาว, ณิชารัศมิ์โหราศาสตร์ www.nicharasastro.com อ.ณิชารัศมิ์ หินเดินดาว ผู้คิดค้น วิชาหินเดินดาว ศาสตร์พยากรณ์ 12 พลังหิน สมาคมโหรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ลาบราดอไรต์ Labradorite หินแห่งดวงตาที่สาม
ลาบราดอไรต์ Labradorite หินแห่งดวงตาที่สาม Labradorite เป็นหินที่มีชื่อที่เรียกตามสถานที่มีการค้นพบในครั้งแรก นั้นคือบนเกาะพอลใกล้กับ Nain, Labrador, Canada มันถูกค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1770 โดยนักเผยแผ่ศาสนาคริสต์นามว่า “Moravian” ซึ่งกำลังนำศาสนาไปเผยแผ่ให้กับผู้คนในแถบนั้น ส่วนในฟากโลกตะวันออกนั้นชาวจีนจะเรียก Labradorite ว่า “โอปอลจิ๊กเฉี่ย” เนื่องจากมีสีเหลือบแวววาวภายในคล้ายกับโอปอล แต่ตัวหินนั้นมีสีที่อึมครึมออกโทนสีดำคล้ำ